ที่มา
เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมไว้ แต่มีฉบับสมบูรณ์เมื่อพระยาวิษณุประสาทเวช เป็นผู้ริเริ่มจัดพิมพ์ขึ้น มีเนื้อหาเกี่ยวกับแพทย์แผนไทย ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการแทรกซ้อนต่างๆ ของโรค และยังสั่งสอนเกี่ยวกับจรรยาบรรณแพทย์ว่า แพทย์ ที่ดีควรทำอย่างไร
ในมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๗๒ พรรษาในปี พ.ศ.๒๕๔๒ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมพระเกียรติน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นราชสักการะ ในการนี้คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารจดหมายเหตุ ได้พิจารณาเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดพิมพ์หนังสือขึ้นเป็นที่ระลึกในนามรัฐบาล แพทยศาสตร์สงเคราะห์ภูมิปัญญาทางการแพทย์ และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ เป็นหนึ่งในหนังสือเหล่านั้น กรมวิชาการได้แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มีศาสตรจารย์ (พิเศษ) ชลธิรา สึตยาวัฒนา เป็นประธานคณะทำงาน แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ แพทยศาสตร์สงเคราะห์ภูมิปัญญาทางการแพทย์ และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ ฉบับเฉลิมพระเกียรตินี้ คณะทำงานได้นำต้นฉบับแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ของพระยาพิศณุประสาทเวช เล่มที่ ๑ พิมพ์ครั้งที่ ๒ ร.ศ. ๑๒๘ และเล่ม ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๑ ร.ศ. ๑๒๖ มาพิมพ์ขึ้นใหม่ โดยจัดทำส่วนอธิบายต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อให้เข้าใจง่าย และเพื่อให้เหมาะสมกับกาลสมัย ในการเผยแะร่องค์ความรู้ในแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จึงใช้เทคโนลโลยีสมัยใหม่ในรูปซีดีรอม (มัลติมีเดีย) ประกอบคู่กับหนังสือด้วย
หนังสือแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง รวบรวมพิพม์โดยพระยาวิศณุประสาทเวชได้รับพระอนุญาตจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพนายกสภาหอสมุดวชิรญาณในขณะนั้น ในการนำมาเป็นแบบฉบับนี้ กอปรด้วยองค์ความรู้อันเป็นภูมิปัญญาตะวันออก ผสมภูมิปัญญาไทยด้านเวชกรรมและเภสัชกรรม อีกทั้งเป็นหนังสือที่แฝงไปด้วยปรัชญาอันมีคุณค่า อุดมด้วยเนื้อหาที่ครอบคลุมทั้ง จักวาลวิทยา โลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนโบราณ รวมไปถึงระบบความเชื่อ พิธีกรรม คาถา และวิธีเยียวยาแบบแผนโบราณ เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจจะได้ศึกษาค้นคว้าวิจัยต่อไปให้แตกฉานทังในเชิงสหวิทาการ และที่เป็นวิชาชีพโดยตรง
เรื่องย่อ
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ : มรดกทางวรรณกรรมของชาติ
คำว่า “แพทย์” มาจากศัพท์สันสกฤต “ไวทฺย” แปลว่า ผู้รู้พระเวท หมายถึงผู้รู้วิชาการต่าง ๆ ที่ประมวลอยู่ในคัมภีร์พระเวท (คัมภีร์พระเวทฉบับหนึ่งคือ อถรรพเวท เป็นต้นกำเนิดของตำราการแพทย์และการรักษาโรคด้วยสมุนไพร) และผู้รู้วิชาการรักษาโรค เป็นที่นับถือยกย่องและ มีบทบาทมากในสังคม ต่อมา คำว่า “ไวทฺย” จึงมีความหมายเจาะจงหมายถึงผู้รู้วิชาการรักษาโรค
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็นตำราแพทย์ของไทย เป็นการแพทย์แผนโบราณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สืบค้นและรวบรวมไว้ ต่อมาได้โปรดให้จัดพิมพ์ “ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” ใช้ในโรงเรียนราชแพทยาลัย แต่พิมพ์ได้เพียง 3 เล่ม ก็เลิกไป ในภายหลังมีการจัดพิมพ์เป็นวารสารรายเดือนฉบับหลวง 2 เล่มจบ เพื่อใช้เป็นคู่มือสำหรับประชาชนใช้และใช้เป็นตำราแพทย์
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทั้งชุดมี 14 คัมภีร์ ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงให้ประชุมแพทย์หลวง สืบค้นและรวบรวมตำราแพทย์ไทย นำมาตรวจสอบชำระให้ถูกต้องแล้วจึง จดบันทึกลงในสมุดไทย และได้จัดพิมพ์สำเร็จสมบูรณ์โดยพระยาพิศณุประสาทเวช* (คง ถาวรเวช) เรียกกันว่า “หมอคง” ผู้เป็นอาจารย์เชี่ยวชาญด้านการแพทย์แผนไทยของราชแพทยาลัยและผู้จัดการโรงเรียนเวชสโมสร เป็นผู้ริเริ่มจัดพิมพ์ “แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง” จัดพิมพ์เผยแพร่ เมื่อ พ.ศ. 2450 (*พระยาพิศณุประสาทเวช ได้เป็นแพทย์หลวงประจำพระองค์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามสกุล “ถาวรเวช” ท่านถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ พ.ศ. 2457)
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง ซึ่งจัดพิมพ์เป็น 2 เล่มนั้น แบ่งเป็นเรื่องต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า “คัมภีร์” นั้น ทั้งหมดมี 14 คัมภีร์ ดังนี้
1. คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เป็นบทสังเคราะห์เนื้อหาสาระจากคัมภีร์อื่น ๆ มารวมไว้
2. คัมภีร์ปฐมจินดาร์ ว่าด้วย ครรภรักษา การคลอด โรคเด็ก วิธีรักษา และยาต่าง ๆ
3. คัมภีร์ธาตุวิภังค์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ (ธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และสมุนไพร ที่ใช้รักษา)
4. คัมภีร์สรรพคุณ ว่าด้วยสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่าง ๆ
5. คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย ว่าด้วยความรู้ในการวินิจฉัยโรคและการรักษาสุขภาพ
6. คัมภีร์วรโยคสาร ว่าด้วยคุณลักษณะของแพทย์ ลักษณะของผู้ป่วย การรักษาโรค คุณค่าของยาและอาหาร
7. คัมภีร์มหาโชตรัต ว่าด้วยโรคของสตรี และสมุนไพรที่ใช้รักษา
8. คัมภีร์ชวดาร ว่าด้วยโรคลมและโรคเลือด และสมุนไพรที่ใช้รักษา
9. คัมภีร์โรคนิทาน ว่าด้วยสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
10. คัมภีร์ธาตุวิวรณ์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ และสมุนไพรที่ใช้รักษา
11. คัมภีร์ธาตุบรรจบ ว่าด้วยเรื่องอุจจาระที่เป็นสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
12. คัมภีร์มุจฉาปักขันธิกา ว่าด้วยโรคของบุรุษและโรคของสตรี และสมุนไพรที่ใช้รักษา
13. คัมภีร์ตักกะศิลา ว่าด้วยอาการโรคระบาดชนิดต่าง ๆ
14. คัมภีร์ไกษย ว่าด้วยโรคกษัยชนิดต่าง ๆ และสมุนไพรที่ใช้รักษา
ในปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำ “คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” มากำหนดให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้เรียนเนื้อหาเกี่ยวกับตำราแพทย์แผนไทย โดยนำเสนอไว้ในหนังสือเรียน “วรรณคดีวิจักษ์” ซึ่งเป็นวรรณคดีสำหรับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 การนำเสนอเนื้อหาของหนังสือเรียนเล่มนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาวรรณคดีตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อให้เข้าใจถึงคุณค่าของวรรณคดีด้านต่าง ๆ เช่น คุณค่า ด้านอารมณ์ คุณค่าด้านคุณธรรม คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าที่สร้างสรรค์จากจินตนาการของกวี นอกจากนี้ยังส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล นำไปสู่ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิด และวิถีชีวิตของบรรพบุรุษ ซาบซึ้งในวรรณคดี วัฒนธรรม ทางภาษา และความเป็นไทย โดยนำเสนออย่างน่าสนใจและชวนติดตาม
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 4 นั้น แต่งเป็น กาพย์ยานี 11 เริ่มต้นด้วยบทไหว้ครู มีไหว้พระรัตนตรัย อันเป็นที่พึ่งของพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ทั้งปวงแล้วก็ไหว้ เทพเจ้าของพราหมณ์ ไหว้หมอชีวกโกมารภัจ (ซึ่งเป็นแพทย์หลวงของพระเจ้า พิมพิสารแห่งแคว้นมคธ และเป็นแพทย์ผู้ถวายการรักษาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นผู้ได้รับ การยกย่องให้เป็นบิดาแห่งการแพทย์แผนอินเดีย) และไหว้ครูแพทย์ทั่วไป
เมื่อจบบทไหว้ครูแล้ว ก็กล่าวถึงความสำคัญของแพทย์และคุณสมบัติสำคัญที่แพทย์พึงมี ซึ่งเน้นว่านอกจากความรู้ทางวิชาการแล้ว แพทย์ยังต้องมีความรู้ทางธรรมด้วย ต้องมีจรรยาแพทย์ มีจรรยาบรรณในอาชีพของตน เป็นผู้ที่อยู่ในศีลธรรม และมอบความรัก ความเสียสละแก่เพื่อนมนุษย์โดยไม่เลือกชั้นวรรณะ และไม่หวังสิ่งตอบแทน
เนื้อเรื่องย่อในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ตอนที่เป็นบทเรียนนั้นกล่าวถึง แพทย์ควรมีความรู้ ความชำนาญในวิชาการและระวังไม่ให้เข้าลักษณะของแพทย์ที่ไม่ดี คือกล่าวคำมุสา ยกตนเองว่า ดีกว่าผู้อื่น มารยา เขาเจ็บน้อยก็ว่าเจ็บมาก รักษาโรคด้วยความโลภ ไม่ยอมรักษาคนไข้อนาถา ถือว่าตนมีความรู้ความชำนาญกว่าผู้อื่น นอกจากนี้แพทย์ยังควรมีธรรมะโดยรักษาศีลแปดและศีลห้า ยึดพระรัตนตรัยเป็นสรณะ และหลีกเลี่ยงบาปธรรม 14 ประการ คือ 1) โลภะ 2) มารยา 3) โทสะ 4) โมหะ 5) ความใคร่ (กาเมมิจฉา) 6) ความพยาบาท 7) ความคลางแคลงใจ (วิจิกิจฉา) 8) ความประหม่า (อุทธัจจัง) 9) ความง่วงเหงา 10) ความถือดี (ทิฐิมานะ) 11) ความลังเลใจ (วิตก) 12) ความคิดเบียดเบียน (วิหิงสา) 13) ความไม่กลัวบาป (อโนตัปปัง) และ 14) ความรังเกียจคนไข้อนาถา
ต่อไปเป็นบทอุปมา “กายนคร” โดยเปรียบเทียบไว้อย่างคมคายว่า ร่างกายนี้คือ “กายนคร” คือเปรียบเสมือนเป็นเมือง ๆ หนึ่ง มีดวงจิต คือหัวใจเป็นประหนึ่งพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองเมือง นั้น ๆ และมีแพทย์ เสมือนเป็นทหาร ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันข้าศึก ข้าศึก ก็คือโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่มาโจมตีร่างกายของเรา นอกจากทหารแล้วเรามีวังหน้า คือน้ำดีคอยป้องกันข้าศึกมิให้เข้ามา ตีบ้านเมืองได้ มีอาหารเป็นเสมือนหนึ่งกองเสบียงเลี้ยงไพร่พล แพทย์จึงมีหน้าที่รักษาหัวใจ น้ำดี และอาหารไว้มิให้โรคร้ายต่าง ๆ มาจู่โจมร่างกายได้
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ จัดเป็นตำราและเป็นมรดกทางวรรณกรรม เพราะมีเนื้อหาเฉพาะด้านเกี่ยวกับความรู้ที่เป็นตำราแพทย์แผนโบราณที่สมบูรณ์ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งนับเป็นมรดกได้ มีวิธีการนำเสนอด้วยคำอธิบายเป็นส่วนใหญ่ (แต่ก็มีหลายตอนที่ประกอบด้วยวรรณศิลป์ เช่น บทอุปมา “กายนคร”) ใช้คำประพันธ์หลายชนิดในการแต่ง อาทิ ร่าย กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์สุรางคนางค์ 28 เป็นตำราที่ให้ทั้งความรู้และความจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน แพทย์ศาสตร์-สงเคราะห์จึงเป็นมรดกที่มีค่า เรียกว่า เป็นสมบัติของแผ่นดิน เป็นภูมิปัญญาไทยที่ตกทอดมาเป็นตำราที่รักษาไข้ รวมทั้งเป็นตำรายาสมุนไพรซึ่งเป็นภูมิรู้ที่ทรงคุณค่าของคนไทย
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ อาจจะอ่านเข้าใจยาก เพราะเป็นภาษาโบราณ มีศัพท์ยากอยู่มาก สำนวนการเรียงคำก็เป็นคำประพันธ์ และยังมีคำศัพท์ธรรมปนอยู่ด้วย แต่ถ้าอ่านและค่อย ๆ พิจารณาก็จะเข้าใจได้ เนื้อหาค่อนข้างเป็นการสั่งสอน ผู้อ่านจะซาบซึ้งคุณสมบัติของแพทย์ไทยว่าเป็นบุคคล ที่เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม ศีลธรรม และความรู้ เป็นคนมีค่าสูงยิ่ง และเป็นบุคคลตัวอย่างของสังคมไทย ซึ่งปัจจุบันนี้จะหาคนที่ทรงคุณค่าเช่นนี้ได้ยากนัก
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 10) ได้อธิบายเพิ่มเติมไว้ว่า คำ “ฉันทศาสตร์” ในบริบทของหนังสือ “แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” นี้ น่าจะแปลว่า “ศาสตร์แห่งความรัก” โดยที่ “ความรัก” ในที่นี้มิได้หมายความถึง “ความรักใคร่ฉันชู้สาว อันหญิงชายจะพึงมีต่อกัน” แต่หมายความถึง “ความรักใน เพื่อนมนุษย์ ซึ่งแพทย์จะพึงมีต่อคนไข้โดยทั่วไป” โดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
เฉพาะในส่วนที่จัดว่าเป็น “บทสอนแพทย์” ผู้แต่งได้ชี้ให้เห็นข้อบกพร่องของแพทย์โดยทั่วไปที่มักจะมีความประมาท ความอวดดี ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตนเอง ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการที่บรรดาแพทย์เล็งเห็นข้อบกพร่องต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมมีส่วน ช่วยรักษาคนไข้ให้หายไข้ได้เร็วขึ้น ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และที่สำคัญก็คือคนจนก็ได้รับความสนใจไยดีจากแพทย์ ในส่วนแพทย์ด้วยกันเองนั้นเล่า ผู้แต่งก็เตือนสติมิให้ “แพทย์สูงอายุ” ผู้มีอาวุโสกว่า หลงตนเองจนลืมไปว่า “แพทย์หนุ่ม” ที่มีความสามารถก็มีอยู่ ควรรับฟังแพทย์หนุ่ม ๆ บ้าง
ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์นี้ มีเนื้อหาข้อมูลที่น่าสนใจหลายอย่างหลายประการ ที่สำคัญที่สุดคือคุณค่าทางด้านการแพทย์แผนโบราณในลักษณะสังเขป เป็นจุดเริ่มต้นที่จะให้ความเข้าใจพื้นฐาน ด้านการวิเคราะห์วินิจฉัยโรคว่าอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ นั้น คนโบราณเห็นว่ามีสาเหตุมาจากอะไร และควรจะรักษาอย่างไร ควรใช้สมุนไพรชนิดใดบ้าง สำหรับคนรุ่นใหม่ที่ไม่คุ้นเคยกับเรื่องโบราณ ก็มีข้อมูลและเนื้อหาตลอดจนวิธีคิดของคนโบราณ ที่อาจจะฟังดูแปลก ๆ แต่ก็น่าสนใจไม่น้อย
ตอนลงท้ายของคัมภีร์ฉันทศาสตร์เป็นไปตามแนววรรณคดีแบบฉบับทั้งหลาย คือมีการอธิษฐานขอให้ได้บรรลุนิพพาน และระหว่างที่ยังไม่บรรลุ ผู้แต่งก็ได้อธิษฐานอุดมคติอันสูงส่ง ของท่านไว้อย่างน่าชื่นชม กล่าวคือ ท่านขอว่า
...ขอข้ากำลังยิ่งอายุยืนปัญญาไว
ให้มีเมตตาไปแก่สัตว์ทั่วทุกสรรพ์พรรค์
เกิดไหนให้เป็นแพทย์อย่ารู้มีผู้เทียมทัน
โรคสิ้นทุกสิ่งสรรพ์ให้รอบรู้กำเนิดนา...
(พระยาพิศณุประสาทเวช, ร.ศ. 128 : 76 - 77)
อ้างถึงใน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สถาบันภาษาไทย, หน้า 14
เนื้อหาที่น่าสนใจและคุณค่าบางประการที่ได้ยกมากล่าวเพียงคร่าว ๆ นี้ คงพอจะทำให้เห็นว่า แท้ที่จริง วรรณคดีเพื่อประโยชน์แก่ปวงชนที่จัดเป็นมรดกทางวรรณกรรมของชาตินั้น ไทยเรามีมา แต่โบราณ และยังคงสามารถสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
หนังสือแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ โดยองค์รวมจึงเป็นมรดกทางวรรณกรรมของชาติ ที่แสดงถึงองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์และสมุนไพร อันมีคุณค่าอเนกอนันต์ อีกทั้งยังเป็นหลักแสดงความก้าวหน้า บ่งชี้ชัดและประกาศความลึกซึ้งของภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์และสมุนไพร อันมีคุณค่าอเนกอนันต์ อีกทั้งยังเป็นหลักแสดงความก้าวหน้า บ่งชี้ชัดและประกาศ ความลึกซึ้งของภูมิปัญญาไทยที่ได้มีการสั่งสมและผสมผสานอย่างกลมกลืมกับภูมิปัญญาตะวันออกมายาวนาน ทั้งในด้านการแพทย์และสมุนไพร โบราณวิทยา อักษรศาสตร์ รวมไปถึงด้านจริยธรรมและคุณธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพรักษาเยียวยาคน
มรดกทางภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยเราส่วนนี้ สมควรที่จะได้มีการอนุรักษ์และพัฒนา อย่างจริงจัง เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป
..................................................................................................................................................
ถอดคำประพันธ์
ถอดความค าประพันธ์คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
๑.จะพดูถึงตา ราฉนั ทศาสตร์ของเก่าที่ครูสอนไวเ้ปรียบไดก้ บัดวงอาทิตยแ์ละดวงจนั ทร์ที่ทา ให้
มองเห็นได้ชัดเจน
๒.นา ทางสัตวใ์หเ้ห็นทางเดินอยา่ งชดัเจน (การด าเนินชีวิตที่ดี)หมอนวดและหมอยา ผู้เรียนรู้เวท
มนตร์คาถาของศ.พราหมณ์
๓.เรียนรู้ใหค้รบท้งัหมดจนจบข้อความในต าราฉันทศาสตร์ที่ครูบอกให้เข้าใจสิบสี่หัวข้อควรจ าไว้
๔.เป็นแพทยน์ ้ียากมากที่จะรู้จกัเรื่องผลการกระทา ที่ไม่ดีตดัทิ้งไปเรื่องความไม่ดีท าความดีสิบสี่ข้อ
จึงจะเป็ นคนซื่อสัตย์
๕.เป็นแพทยแ์ ต่ไม่รู้ในตา ราเวทย์มนตร์คาถาที่ครูต้งัใจเรียนไวรู้้แต่ยามาประดบั ตวั รักษาไขไ้ม่เกรง
กลัว
๖.หมอบางคนก็พดู โกหกซ้า ๆ ย้า ขอ้ความยกยอ่ งตนเองวา่ มีความรู้ดียงิ่ ในเรื่องยา
๗.หมอบางคนก็รังเกียจคนไขท้ี่แพทยอ์ื่นเคยรักษามาบา้งก็กล่าวหลอกลวง เขาเจบ็ ป่วยเล็กนอ้ยก็วา่
เป็ นมาก
๘.บ้างพดูอยา่ งเล่ห์กลกบัคนไขว้า่ ตอ้งใชเ้งินหลายพนัคาดวา่ จะไดข้องทนั ทีเพราะเชื่อค าพูดของ
ตนเอง
๙.บางคร้ังไปเยยี่ มคนไข้ท้งัที่ไม่มีใครเชิญใหไ้ปพดู ยกตวัอยา่ งถึงประโยชน์ของยาที่ตนรู้ใหค้ นฟัง
เชื่อ
๑๐.หมอบางคนหมกมุ่นในกลอุบายใหค้ นเขา้ใจผดิ เพราะความโลภเข้าปิ ดบังรักษาโรคเพราะ
อ านาจความอยากได้ความต้องการ
๑๑.หมอบางพวกหยงิ่ ในฐานะตนวา่ คนไขย้ากจนให้ยาไปจะเสียยา ไม่ไดร้ับของที่ควรจะไดร้ับ
๑๒.หมอบางคนยดึมนั่ วา่ ตวัเองอายมุ ากเป็ นหมอมานานมีความเชี่ยวชาญรู้เรื่องยาไม่รู้
ความสามารถของผู้อื่น รักษาโรคไดก้็มีความสุข
๑๓.ร่างกายแก่ไม่เรียนรู้ใหม้ ากดูหมิ่นผมู้ีความรู้มากแมเ้ด็กแต่เป็นเด็กมีความชา นาญ ใจไม่ควรคิด
ดูหมิ่น
๑๔.เรียนรู้ให้ช านาญ จบขอบเขตเน้ือหาตา ราเวทมนตร์คาถาเริ่มต้งัตน้ ในฉนั ทศาสตร์ตามที่บอกให้
ทราบไว้
๑๕.ต าราปฐมจินดาร์โชตรัต ต าราครรภ์รักษา ต าราอภัยสันตาต าราสิทธิสารนนท์ปักษี........
อ้างอิง
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/khamphir-chanth-sastr-phaethysastr-sngkheraah/1-khwam-pen-ma,https://my.dek-d.com/naruemol_2540/writer/viewlongc.php?id=1287637&chapter=3
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ : มรดกทางวรรณกรรมของชาติ
คำว่า “แพทย์” มาจากศัพท์สันสกฤต “ไวทฺย” แปลว่า ผู้รู้พระเวท หมายถึงผู้รู้วิชาการต่าง ๆ ที่ประมวลอยู่ในคัมภีร์พระเวท (คัมภีร์พระเวทฉบับหนึ่งคือ อถรรพเวท เป็นต้นกำเนิดของตำราการแพทย์และการรักษาโรคด้วยสมุนไพร) และผู้รู้วิชาการรักษาโรค เป็นที่นับถือยกย่องและ มีบทบาทมากในสังคม ต่อมา คำว่า “ไวทฺย” จึงมีความหมายเจาะจงหมายถึงผู้รู้วิชาการรักษาโรค
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์เป็นตำราแพทย์ของไทย เป็นการแพทย์แผนโบราณ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สืบค้นและรวบรวมไว้ ต่อมาได้โปรดให้จัดพิมพ์ “ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” ใช้ในโรงเรียนราชแพทยาลัย แต่พิมพ์ได้เพียง 3 เล่ม ก็เลิกไป ในภายหลังมีการจัดพิมพ์เป็นวารสารรายเดือนฉบับหลวง 2 เล่มจบ เพื่อใช้เป็นคู่มือสำหรับประชาชนใช้และใช้เป็นตำราแพทย์
ตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทั้งชุดมี 14 คัมภีร์ ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงให้ประชุมแพทย์หลวง สืบค้นและรวบรวมตำราแพทย์ไทย นำมาตรวจสอบชำระให้ถูกต้องแล้วจึง จดบันทึกลงในสมุดไทย และได้จัดพิมพ์สำเร็จสมบูรณ์โดยพระยาพิศณุประสาทเวช* (คง ถาวรเวช) เรียกกันว่า “หมอคง” ผู้เป็นอาจารย์เชี่ยวชาญด้านการแพทย์แผนไทยของราชแพทยาลัยและผู้จัดการโรงเรียนเวชสโมสร เป็นผู้ริเริ่มจัดพิมพ์ “แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง” จัดพิมพ์เผยแพร่ เมื่อ พ.ศ. 2450 (*พระยาพิศณุประสาทเวช ได้เป็นแพทย์หลวงประจำพระองค์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามสกุล “ถาวรเวช” ท่านถึงแก่อนิจกรรม เมื่อ พ.ศ. 2457)
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง ซึ่งจัดพิมพ์เป็น 2 เล่มนั้น แบ่งเป็นเรื่องต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า “คัมภีร์” นั้น ทั้งหมดมี 14 คัมภีร์ ดังนี้
1. คัมภีร์ฉันทศาสตร์ เป็นบทสังเคราะห์เนื้อหาสาระจากคัมภีร์อื่น ๆ มารวมไว้
2. คัมภีร์ปฐมจินดาร์ ว่าด้วย ครรภรักษา การคลอด โรคเด็ก วิธีรักษา และยาต่าง ๆ
3. คัมภีร์ธาตุวิภังค์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ (ธาตุทั้งสี่ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ และสมุนไพร ที่ใช้รักษา)
4. คัมภีร์สรรพคุณ ว่าด้วยสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่าง ๆ
5. คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย ว่าด้วยความรู้ในการวินิจฉัยโรคและการรักษาสุขภาพ
6. คัมภีร์วรโยคสาร ว่าด้วยคุณลักษณะของแพทย์ ลักษณะของผู้ป่วย การรักษาโรค คุณค่าของยาและอาหาร
7. คัมภีร์มหาโชตรัต ว่าด้วยโรคของสตรี และสมุนไพรที่ใช้รักษา
8. คัมภีร์ชวดาร ว่าด้วยโรคลมและโรคเลือด และสมุนไพรที่ใช้รักษา
9. คัมภีร์โรคนิทาน ว่าด้วยสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
10. คัมภีร์ธาตุวิวรณ์ ว่าด้วยลักษณะธาตุพิการ และสมุนไพรที่ใช้รักษา
11. คัมภีร์ธาตุบรรจบ ว่าด้วยเรื่องอุจจาระที่เป็นสาเหตุของโรค และสมุนไพรที่ใช้รักษา
12. คัมภีร์มุจฉาปักขันธิกา ว่าด้วยโรคของบุรุษและโรคของสตรี และสมุนไพรที่ใช้รักษา
13. คัมภีร์ตักกะศิลา ว่าด้วยอาการโรคระบาดชนิดต่าง ๆ
14. คัมภีร์ไกษย ว่าด้วยโรคกษัยชนิดต่าง ๆ และสมุนไพรที่ใช้รักษา
ในปัจจุบัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำ “คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” มากำหนดให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้เรียนเนื้อหาเกี่ยวกับตำราแพทย์แผนไทย โดยนำเสนอไว้ในหนังสือเรียน “วรรณคดีวิจักษ์” ซึ่งเป็นวรรณคดีสำหรับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 การนำเสนอเนื้อหาของหนังสือเรียนเล่มนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาวรรณคดีตามที่กำหนดไว้ในประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อให้เข้าใจถึงคุณค่าของวรรณคดีด้านต่าง ๆ เช่น คุณค่า ด้านอารมณ์ คุณค่าด้านคุณธรรม คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าที่สร้างสรรค์จากจินตนาการของกวี นอกจากนี้ยังส่งเสริมและกระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล นำไปสู่ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิด และวิถีชีวิตของบรรพบุรุษ ซาบซึ้งในวรรณคดี วัฒนธรรม ทางภาษา และความเป็นไทย โดยนำเสนออย่างน่าสนใจและชวนติดตาม
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้นักเรียนช่วงชั้นที่ 4 นั้น แต่งเป็น กาพย์ยานี 11 เริ่มต้นด้วยบทไหว้ครู มีไหว้พระรัตนตรัย อันเป็นที่พึ่งของพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ทั้งปวงแล้วก็ไหว้ เทพเจ้าของพราหมณ์ ไหว้หมอชีวกโกมารภัจ (ซึ่งเป็นแพทย์หลวงของพระเจ้า พิมพิสารแห่งแคว้นมคธ และเป็นแพทย์ผู้ถวายการรักษาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นผู้ได้รับ การยกย่องให้เป็นบิดาแห่งการแพทย์แผนอินเดีย) และไหว้ครูแพทย์ทั่วไป
เมื่อจบบทไหว้ครูแล้ว ก็กล่าวถึงความสำคัญของแพทย์และคุณสมบัติสำคัญที่แพทย์พึงมี ซึ่งเน้นว่านอกจากความรู้ทางวิชาการแล้ว แพทย์ยังต้องมีความรู้ทางธรรมด้วย ต้องมีจรรยาแพทย์ มีจรรยาบรรณในอาชีพของตน เป็นผู้ที่อยู่ในศีลธรรม และมอบความรัก ความเสียสละแก่เพื่อนมนุษย์โดยไม่เลือกชั้นวรรณะ และไม่หวังสิ่งตอบแทน
เนื้อเรื่องย่อในคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ตอนที่เป็นบทเรียนนั้นกล่าวถึง แพทย์ควรมีความรู้ ความชำนาญในวิชาการและระวังไม่ให้เข้าลักษณะของแพทย์ที่ไม่ดี คือกล่าวคำมุสา ยกตนเองว่า ดีกว่าผู้อื่น มารยา เขาเจ็บน้อยก็ว่าเจ็บมาก รักษาโรคด้วยความโลภ ไม่ยอมรักษาคนไข้อนาถา ถือว่าตนมีความรู้ความชำนาญกว่าผู้อื่น นอกจากนี้แพทย์ยังควรมีธรรมะโดยรักษาศีลแปดและศีลห้า ยึดพระรัตนตรัยเป็นสรณะ และหลีกเลี่ยงบาปธรรม 14 ประการ คือ 1) โลภะ 2) มารยา 3) โทสะ 4) โมหะ 5) ความใคร่ (กาเมมิจฉา) 6) ความพยาบาท 7) ความคลางแคลงใจ (วิจิกิจฉา) 8) ความประหม่า (อุทธัจจัง) 9) ความง่วงเหงา 10) ความถือดี (ทิฐิมานะ) 11) ความลังเลใจ (วิตก) 12) ความคิดเบียดเบียน (วิหิงสา) 13) ความไม่กลัวบาป (อโนตัปปัง) และ 14) ความรังเกียจคนไข้อนาถา
ต่อไปเป็นบทอุปมา “กายนคร” โดยเปรียบเทียบไว้อย่างคมคายว่า ร่างกายนี้คือ “กายนคร” คือเปรียบเสมือนเป็นเมือง ๆ หนึ่ง มีดวงจิต คือหัวใจเป็นประหนึ่งพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองเมือง นั้น ๆ และมีแพทย์ เสมือนเป็นทหาร ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันข้าศึก ข้าศึก ก็คือโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่มาโจมตีร่างกายของเรา นอกจากทหารแล้วเรามีวังหน้า คือน้ำดีคอยป้องกันข้าศึกมิให้เข้ามา ตีบ้านเมืองได้ มีอาหารเป็นเสมือนหนึ่งกองเสบียงเลี้ยงไพร่พล แพทย์จึงมีหน้าที่รักษาหัวใจ น้ำดี และอาหารไว้มิให้โรคร้ายต่าง ๆ มาจู่โจมร่างกายได้
แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ จัดเป็นตำราและเป็นมรดกทางวรรณกรรม เพราะมีเนื้อหาเฉพาะด้านเกี่ยวกับความรู้ที่เป็นตำราแพทย์แผนโบราณที่สมบูรณ์ที่สุด มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งนับเป็นมรดกได้ มีวิธีการนำเสนอด้วยคำอธิบายเป็นส่วนใหญ่ (แต่ก็มีหลายตอนที่ประกอบด้วยวรรณศิลป์ เช่น บทอุปมา “กายนคร”) ใช้คำประพันธ์หลายชนิดในการแต่ง อาทิ ร่าย กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์สุรางคนางค์ 28 เป็นตำราที่ให้ทั้งความรู้และความจรรโลงใจแก่ผู้อ่าน แพทย์ศาสตร์-สงเคราะห์จึงเป็นมรดกที่มีค่า เรียกว่า เป็นสมบัติของแผ่นดิน เป็นภูมิปัญญาไทยที่ตกทอดมาเป็นตำราที่รักษาไข้ รวมทั้งเป็นตำรายาสมุนไพรซึ่งเป็นภูมิรู้ที่ทรงคุณค่าของคนไทย
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ อาจจะอ่านเข้าใจยาก เพราะเป็นภาษาโบราณ มีศัพท์ยากอยู่มาก สำนวนการเรียงคำก็เป็นคำประพันธ์ และยังมีคำศัพท์ธรรมปนอยู่ด้วย แต่ถ้าอ่านและค่อย ๆ พิจารณาก็จะเข้าใจได้ เนื้อหาค่อนข้างเป็นการสั่งสอน ผู้อ่านจะซาบซึ้งคุณสมบัติของแพทย์ไทยว่าเป็นบุคคล ที่เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม ศีลธรรม และความรู้ เป็นคนมีค่าสูงยิ่ง และเป็นบุคคลตัวอย่างของสังคมไทย ซึ่งปัจจุบันนี้จะหาคนที่ทรงคุณค่าเช่นนี้ได้ยากนัก
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 10) ได้อธิบายเพิ่มเติมไว้ว่า คำ “ฉันทศาสตร์” ในบริบทของหนังสือ “แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์” นี้ น่าจะแปลว่า “ศาสตร์แห่งความรัก” โดยที่ “ความรัก” ในที่นี้มิได้หมายความถึง “ความรักใคร่ฉันชู้สาว อันหญิงชายจะพึงมีต่อกัน” แต่หมายความถึง “ความรักใน เพื่อนมนุษย์ ซึ่งแพทย์จะพึงมีต่อคนไข้โดยทั่วไป” โดยไม่เลือกชั้นวรรณะ
เฉพาะในส่วนที่จัดว่าเป็น “บทสอนแพทย์” ผู้แต่งได้ชี้ให้เห็นข้อบกพร่องของแพทย์โดยทั่วไปที่มักจะมีความประมาท ความอวดดี ความริษยา ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความหลงตนเอง ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการที่บรรดาแพทย์เล็งเห็นข้อบกพร่องต่าง ๆ เหล่านี้ ย่อมมีส่วน ช่วยรักษาคนไข้ให้หายไข้ได้เร็วขึ้น ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และที่สำคัญก็คือคนจนก็ได้รับความสนใจไยดีจากแพทย์ ในส่วนแพทย์ด้วยกันเองนั้นเล่า ผู้แต่งก็เตือนสติมิให้ “แพทย์สูงอายุ” ผู้มีอาวุโสกว่า หลงตนเองจนลืมไปว่า “แพทย์หนุ่ม” ที่มีความสามารถก็มีอยู่ ควรรับฟังแพทย์หนุ่ม ๆ บ้าง
ในคัมภีร์ฉันทศาสตร์นี้ มีเนื้อหาข้อมูลที่น่าสนใจหลายอย่างหลายประการ ที่สำคัญที่สุดคือคุณค่าทางด้านการแพทย์แผนโบราณในลักษณะสังเขป เป็นจุดเริ่มต้นที่จะให้ความเข้าใจพื้นฐาน ด้านการวิเคราะห์วินิจฉัยโรคว่าอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ นั้น คนโบราณเห็นว่ามีสาเหตุมาจากอะไร และควรจะรักษาอย่างไร ควรใช้สมุนไพรชนิดใดบ้าง สำหรับคนรุ่นใหม่ที่ไม่คุ้นเคยกับเรื่องโบราณ ก็มีข้อมูลและเนื้อหาตลอดจนวิธีคิดของคนโบราณ ที่อาจจะฟังดูแปลก ๆ แต่ก็น่าสนใจไม่น้อย
ตอนลงท้ายของคัมภีร์ฉันทศาสตร์เป็นไปตามแนววรรณคดีแบบฉบับทั้งหลาย คือมีการอธิษฐานขอให้ได้บรรลุนิพพาน และระหว่างที่ยังไม่บรรลุ ผู้แต่งก็ได้อธิษฐานอุดมคติอันสูงส่ง ของท่านไว้อย่างน่าชื่นชม กล่าวคือ ท่านขอว่า
...ขอข้ากำลังยิ่งอายุยืนปัญญาไว
ให้มีเมตตาไปแก่สัตว์ทั่วทุกสรรพ์พรรค์
เกิดไหนให้เป็นแพทย์อย่ารู้มีผู้เทียมทัน
โรคสิ้นทุกสิ่งสรรพ์ให้รอบรู้กำเนิดนา...
(พระยาพิศณุประสาทเวช, ร.ศ. 128 : 76 - 77)
อ้างถึงใน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สถาบันภาษาไทย, หน้า 14
เนื้อหาที่น่าสนใจและคุณค่าบางประการที่ได้ยกมากล่าวเพียงคร่าว ๆ นี้ คงพอจะทำให้เห็นว่า แท้ที่จริง วรรณคดีเพื่อประโยชน์แก่ปวงชนที่จัดเป็นมรดกทางวรรณกรรมของชาตินั้น ไทยเรามีมา แต่โบราณ และยังคงสามารถสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
หนังสือแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ โดยองค์รวมจึงเป็นมรดกทางวรรณกรรมของชาติ ที่แสดงถึงองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์และสมุนไพร อันมีคุณค่าอเนกอนันต์ อีกทั้งยังเป็นหลักแสดงความก้าวหน้า บ่งชี้ชัดและประกาศความลึกซึ้งของภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์และสมุนไพร อันมีคุณค่าอเนกอนันต์ อีกทั้งยังเป็นหลักแสดงความก้าวหน้า บ่งชี้ชัดและประกาศ ความลึกซึ้งของภูมิปัญญาไทยที่ได้มีการสั่งสมและผสมผสานอย่างกลมกลืมกับภูมิปัญญาตะวันออกมายาวนาน ทั้งในด้านการแพทย์และสมุนไพร โบราณวิทยา อักษรศาสตร์ รวมไปถึงด้านจริยธรรมและคุณธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพรักษาเยียวยาคน
มรดกทางภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยเราส่วนนี้ สมควรที่จะได้มีการอนุรักษ์และพัฒนา อย่างจริงจัง เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนตลอดไป
..................................................................................................................................................
ถอดคำประพันธ์
ถอดความค าประพันธ์คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
๑.จะพดูถึงตา ราฉนั ทศาสตร์ของเก่าที่ครูสอนไวเ้ปรียบไดก้ บัดวงอาทิตยแ์ละดวงจนั ทร์ที่ทา ให้
มองเห็นได้ชัดเจน
๒.นา ทางสัตวใ์หเ้ห็นทางเดินอยา่ งชดัเจน (การด าเนินชีวิตที่ดี)หมอนวดและหมอยา ผู้เรียนรู้เวท
มนตร์คาถาของศ.พราหมณ์
๓.เรียนรู้ใหค้รบท้งัหมดจนจบข้อความในต าราฉันทศาสตร์ที่ครูบอกให้เข้าใจสิบสี่หัวข้อควรจ าไว้
๔.เป็นแพทยน์ ้ียากมากที่จะรู้จกัเรื่องผลการกระทา ที่ไม่ดีตดัทิ้งไปเรื่องความไม่ดีท าความดีสิบสี่ข้อ
จึงจะเป็ นคนซื่อสัตย์
๕.เป็นแพทยแ์ ต่ไม่รู้ในตา ราเวทย์มนตร์คาถาที่ครูต้งัใจเรียนไวรู้้แต่ยามาประดบั ตวั รักษาไขไ้ม่เกรง
กลัว
๖.หมอบางคนก็พดู โกหกซ้า ๆ ย้า ขอ้ความยกยอ่ งตนเองวา่ มีความรู้ดียงิ่ ในเรื่องยา
๗.หมอบางคนก็รังเกียจคนไขท้ี่แพทยอ์ื่นเคยรักษามาบา้งก็กล่าวหลอกลวง เขาเจบ็ ป่วยเล็กนอ้ยก็วา่
เป็ นมาก
๘.บ้างพดูอยา่ งเล่ห์กลกบัคนไขว้า่ ตอ้งใชเ้งินหลายพนัคาดวา่ จะไดข้องทนั ทีเพราะเชื่อค าพูดของ
ตนเอง
๙.บางคร้ังไปเยยี่ มคนไข้ท้งัที่ไม่มีใครเชิญใหไ้ปพดู ยกตวัอยา่ งถึงประโยชน์ของยาที่ตนรู้ใหค้ นฟัง
เชื่อ
๑๐.หมอบางคนหมกมุ่นในกลอุบายใหค้ นเขา้ใจผดิ เพราะความโลภเข้าปิ ดบังรักษาโรคเพราะ
อ านาจความอยากได้ความต้องการ
๑๑.หมอบางพวกหยงิ่ ในฐานะตนวา่ คนไขย้ากจนให้ยาไปจะเสียยา ไม่ไดร้ับของที่ควรจะไดร้ับ
๑๒.หมอบางคนยดึมนั่ วา่ ตวัเองอายมุ ากเป็ นหมอมานานมีความเชี่ยวชาญรู้เรื่องยาไม่รู้
ความสามารถของผู้อื่น รักษาโรคไดก้็มีความสุข
๑๓.ร่างกายแก่ไม่เรียนรู้ใหม้ ากดูหมิ่นผมู้ีความรู้มากแมเ้ด็กแต่เป็นเด็กมีความชา นาญ ใจไม่ควรคิด
ดูหมิ่น
๑๔.เรียนรู้ให้ช านาญ จบขอบเขตเน้ือหาตา ราเวทมนตร์คาถาเริ่มต้งัตน้ ในฉนั ทศาสตร์ตามที่บอกให้
ทราบไว้
๑๕.ต าราปฐมจินดาร์โชตรัต ต าราครรภ์รักษา ต าราอภัยสันตาต าราสิทธิสารนนท์ปักษี........
อ้างอิง
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/khamphir-chanth-sastr-phaethysastr-sngkheraah/1-khwam-pen-ma,https://my.dek-d.com/naruemol_2540/writer/viewlongc.php?id=1287637&chapter=3
The Venetian Hotel Casino & Spa - Mapyro
ตอบลบFind the 태백 출장마사지 cheapest and quickest way to get from The Venetian Hotel Casino & 용인 출장마사지 Spa 당진 출장샵 in Las Vegas to The Venetian 경상남도 출장샵 Casino & 충주 출장안마 Spa in Las Vegas, NV.